บันทึกการเรียนรู้ที่7วันอังคารที่20กันยายน (ห้อง15-0905)
เนื้อหาการเรียนรู้/ความรู้ที่ได้รับ
- คัด ก-ฮ หัวกลมตัวเหลี่ยม
หลังจากที่คัด ก-ฮ เสร็จครบทุกคนแล้ว อาจารย์ก็เเจกกระดาษ A4คนละ1แผ่น
- หลังจากนั้นแจกกระดาษ A4คนละ1แผ่น ให้วาดรูปมือของตัวเองด้านใดก้ได้ลงบนแผ่นกระดาษที่เเจกให้ เมื่อวาดรูปมือเสร็จแล้วให้นำอีกสีมาขีดผ่านรูปมือ ดังภาพต่อไปนี้
ภาพ เรียงลำดับการวาด
จะเห็นได้ว่ารูปสุดท้ายจะนูนขึ้น ที่เราเห็นภาพสุดท้ายนูนขึ้นก็คือเราขีดเส้นทำให้ภาพเกิดมิติ หรือเรียนได้ว่าเป็นภาพสามมิติ เราสามมารถวาดรูปอื่นๆได้ ภาพเหล่านั้นก็จะเป็นสามมิติเช่นเดียวกัน
- เพื่อนๆออกไปนำเสนอของเล่น ความรู้ที่ได้รับจากสิ่งที่เพื่อนออกไปนำเสนอ
เเรงหนีศูนย์กลางคือ แรงที่กระทําต่อเทหวัตถุในขณะที่เทหวัตถุนั้นเคลื่อนที่เป็นทางวงกลม แรงนี้มีแนวทิศออกจากจุดศูนย์กลางของทางวงกลมนั้นและมีขนาดเท่ากับแรงสู่ศูนย์กลาง
จุดศูนย์ถ่วง คือ วัตถุทุกชิ้นประกอบด้วยโมเลกุลจำนวนมากมมาย โมเลกุลเหล่านี้ต่างก็มีมวลเเละถูกดูดด้วยเเรงดึงดูดของโลก เเรงดึงดูดของโลกเหล่านี้ต่างขนานกัน เเละเมื่อรวามเเรงเหล่านี้เข้าด้วยกัน ก็คือน้ำหนักของวัตถุทั้งก้อนนั้นเอง จุดที่น้ำหนักของวัตถุทั้งก้อนผ่านไม่ว่าจะว่างวัตถุอยู่ในลักษณะใดเรียกว่าจุดศูนย์ถ่วง
นำเสนอของเล่น
- หลังจากนำเสนอของเล่นเสร็จแล้ว ก็เป็นการทดลอง คือให้ตัดกระดาษป็นอดกไม้เเล้วนำสีเมจิสีใดก็ได้มาทาบริเวรตรงกลางของดอกแล้วพับกลีบทั้งสี่กลีบไปลอยในน้ำ เมื่อน้ำดอกไม้ไปลอยในน้ำจะสังเกตเห็นได้ว่าดอกไม้ค่อยๆบานออก สาเหตุที่ทำให้ดอกไม้บานออกคือ กระดาษจะดูดซึมน้ำเข้าไปจะทำให้กระดาษเกิดการอิ่มตัวเมื่อกระดาษเกิดการอิ่มตัวกระดาษจะบานออกนั่นเอง
- เมื่อทำการทดลองเสร็จแล้วอาจารย์ก็ให้ออกไปนำเสนอของเล่นกลุ่ม ซึ่งกลุ่มของดิฉันทำนาฬิกาทราย
คำศัพท์
- objective วัตถุประสงค์
- center of gravity จุดศูนย์ถ่วง
การนำมาประยุกต์ใช้
นำหลักการการทดลองในวิชานี้ ไปใช้ในชีวิตประจำวันได้อย่างหลากหลาย เช่น ร้านขายดอกไม้คือนำดอกไม้ไปแช่น้ำเพื่อให้เกิดความสด แช่เห็ดหูหนุเพื่อทำให้เห็ดนิ่ม แช่เส้นก๋วยเตี๋ยว เเละอื่นๆอีกมากมาย การนำไปสอนในรายวิชาเรียนทำให้ไม่น่าเบื่อ
การประเมินผล
ประเมินตนเอง
สามารถปกิบัติตามข้อตกลงของอาจารย์ได้ สนุกในการเรียนรู้ เข้าในการทดลองที่อาจารย์ให้ทำ
ประเมินเพื่อน
เพื่อนทุกคนตั้งใจทำกิจกรรมเพราะเป็นกิจกรรมที่น่าสนใจ ไม่น่าเบื่อ มีน้ำใจ มีความสามัคคีกันมาก
ประเมินอาจารย์
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น