เนื้อหาการเรียนรู้/ความรู้ที่ได้รับ
วันนี้เป็นการเรียนชดเชย อาจารย์พูดถึงเเนวการสอน ใบความรู้ที่ต้องใช้ประกอบในการเรียน การแต่งกายมาเรียนควรจะเเต่งให้เหมือนกันและเรียบร้อยถูกระเบียบ และในหลังการเรียนในแต่ละครั้งจะต้องมีการสรุปพูดคุยกันท้ายคาบเรียน ตอบคำถามหลังเรียนเมื่อไม่เข้าใจในเนื้อหาที่อาจารย์สอนมา
องค์ประกอบภายในบล็อก (ต้องเป็นภาษาอังกฤษ)
- ปฏิทิน
- นาฬิกา
- หน่วยงานที่สนับสนุนเกี่ยวข้องกับวิทยาศาสตร์
- ข้อมูลส่วนตัว
- ต้องมีคำศัพท์
ภายในบล็อกจะต้องมี
- งานวิจัยที่เกี่ยวกับวิทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวัย
- บทความวิทยาศาสตร์
- สื่อวิทยาศาสตร์ นิทาน เกม เพลง เป็นต้น
เมื่ออธิบายการทำบล้อกและมอบหมายงานที่จะต้องทำลงบล็อกเสร็จแล้ว อาจารย์ก็ได้เข้าสู่การเรียน
วิทยาศาสตร์ ที่นักศึกษารู้คืออะไร ให้ทุกๆคนพูดออกไปจากความรู้เดิมที่อยู่มี แล้วให้เขียนเป็นมายเเมปใส่กระดาาเอ4 ดังนี้
มายแมป
(การจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย)
เนื้อหาในมายแมปที่ดิฉันเขียน
การจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
- การจัดประสบการณ์
การเล่นตามมุม
ออกไปเรียนรู้จากของจริง
การลงมือปฏิบัติ
การเล่นบทบาทสมมติ
การจัดกิจกรรมในชั้นเรียน
เพลง
สื่อ/นิทาน
- วิทยาศาสตร์
การทดลอง
การเจริญเติบดตของสิ่งมีชีวิต
การหาคำตอบ
การสำรวจ
สิ่งต่างๆรอบตัว
- เด็กปฐมวัย
เด็กอายุ0-6ปี
พัฒนาการทั้ง4ด้าน
คุณลักษณะตามวัย
คำศัพท์
- Music เพลง
- tale นิทาน
- Clock นาฬิกา
- calendar ปฏิทิน
การนำมาประยุกต์ใช้
นำสื่อการสอนที่เกี่ยวข้องกับวิทยาศาสตร์มาเชื่อมโยงในการเข้าสู่บทเรียนเริ่มต้นให้กับเด็กๆในชั่วโมงที่ต้องต้องเรียนรู้เกี่ยวกับวิทยาศาสตร์เพื่อเพิ่มความสนใจให้เด็ก เช่น สื่อที่เป็น VDO นิทาน เพลงเป็นต้น
การประเมิน
ประเมินตนเอง
มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับวิทยาศาสตร์สามารถเขียนเป็นมายแมปได้บางส่วน ในเวลาที่อาจารย์สอน พูดคุยกับเพื่อนเป็นบางครั้ง แต่สามารถดึงตัวเองกลับมาฟังที่อาจารย์สอนได้ จดบันทึกระหว่างที่อาจารย์สอน เมท่อไม่เข้าใจยกมือถาม
ประเมินเพื่อน
เพื่อนๆทุกคนตั้งใจฟังในสิ่งที่อาจารย์สอน ไม่เข้าใจก็จะถามอาจารย์เสมอ เเต่งกายเรียบร้อย เข้าเรียนตรงเวลา
ประเมินอาจารย์ผู้สอน
อาจารย์สอนได้อย่างเข้าใจอธิบายละเดียด จนบางครั้งไม่ต้องถามเพิ่มเติม แต่งกายเรียบร้อย ตรงต่อเวลา
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น